การพัฒนาประเทศที่ดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันมีแนวทางการพัฒนาที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนากลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคตที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในหลากหลายมิติทั้งภาคเกษตร อตสาทกรรมและบริการ เพื่อดำเนินงานบรรลุเป้าหมายประเทศไทยมีชีคความสามารถในการแข่งขันที่สูงขึ้นตามยุทธศาสตร์ชาติกำหนดไว้ การดำเนินการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสจิสติกส์ที่สำคัญของภูมิภาค และหมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน เป็นกลไกสำคัญในการแปลงยุทธศาสตร์ชาติไปสู่การปฏิบัติ ดังนั้น กระทรวงคมนาคมจึงจำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมทั้งทางถนน ทางราง ทางน้ำ และทางอากาศ ที่มุ่งเน้นให้มีความครอบคลุมและเชื่อมโยงอย่างไร้รอยต่อโดยให้ความสำคัญกับการขนส่งทางน้ำและระบบบบรางมากขึ้น ร่วมด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจและกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค เพื่อลดต้นทุนในการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ
ที่มาและความสำคัญโครงการ
ซึ่งเป็นภาคส่วนสำคัญในการขับคลื่อนเศรษฐกิจโดยกระทรวงคมนาคมได้กำหนดกรอบแนวคิดการพัฒนาภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคนาดนาคมชนส่งระยะ 20 ปี(พ.ศ.2561 – 2580) ประกอบด้วย การขนส่งที่มีประสิทธิภาพ (Transport Efficiency) การขนส่งที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวตล้อม (Green and Safe Transport) และการขนส่งที่เข้าถึงได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียม (Indusive Transpot)ด้วยการนำนวัตกรรม (Iกnovation) และการบริหารจัดการ (Maกagernen) ที่มีประสิทธิภาพมาใช้เป็นเครื่องมืองมือสำคัญในกระบวนการพัฒนาระบบคมนาคมชนส่งและการขับเคลื่อนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในทุกขั้นตขั้นตอนกระทรวงคมนาคมกำหนดเป้าหมายการพัฒนาเพื่อการขนส่งที่มีประสิทธิภาพที่มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมทั้งทางถนน ทางราง ทางน้ำ และทางอากาศ ให้มีความครอบคลุมและเชื่อมโยงอย่างไร้รอยต่อโดยให้ความสำคัญกับการขนส่งทางน้ำและระระบบรางเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการชนส่งสินค้าจากถนนไปสู่การขนส่งทางรางและนำมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเชื่อมต่อการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Easten Econonnics Coridor : EEC) ได้แก่ จังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ให้มีความพร้อมทางโครงสร้างพื้นฐานที่จะทำให้ไทยเป็นศูนย์กลางคมนาคม รวมถึงศูนย์กลางอุตสาหกรรมและนวัตกรรมเพื่ออำนวยความสะดวก และลดต้นทุนในการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการซึ่งเป็นภาคส่วนสำคัญในการขับคลื่อนเศรษฐกิจ
เมื่อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศสูงสุดการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบคมนาคมของประเทศ และการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก(Eastern Economics Conidor : EEC) เพื่ออกระดับการขนส่งสินค้าเกษตรและสินค้าอุตลาหกรรมทั้งทางทางและทางน้ำเชื่อมต่อการขนส่งเข้าสู่ประตูการส่งออกสินค้า และนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ รวมทั้งเชื่อมโยงการขนส่งสินค้าจากพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกไปยังผู้บริโภคภายในประเทศ และไปยังประตูการค้าที่สำคัญของปรงประเทศจำเป็นต้องพิจารณาและวิเคราะห์แต่ละบริบทที่เกี่ยวข้องให้ครอบคลุม ทั้งวัตถุประสงค์และรูปแบบการคมนาคมและโลจิสติกส์ บริบทการพัฒนาระบบคมนาคมและโลจิสติกส์ เช่น สังคม เศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Innovation) และการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ เป็นต้น รวมถึงศักยภาพของพื้นที่ ตลอดจนประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นในด้านต่าง ๆกระทรวงคมนาคม โดยสำนักงานนโยบายและแผนการชนส่งและจราจร (สนข.) ในฐานะหน่วยงานหลักในการเสนอแนะนโยบายและขี้นำการพัฒนาระบขบขนส่งและจะจราจรที่เหมาะสมของประเทศ ได้พิจารณาและเห็นความจำเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการขนส่งสินค้าเกษตรและอุตสาทกรรมทั้งทางรางและทางน้ำจากพื้นที่แหล่งผลิตในประเทศและประตูการค้าที่สำคัญของประเทศไปยังพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมทั้งการขนส่งสินค้าจากพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ไปยังผู้บริโภคภายในประเทศไปยังประตูการค้าที่สำคัญของประเทศ จึงได้ดำเนินการศึกษาจัดทำแผนพัฒนากาการเชื่อมโยงและเพิ่มการขนส่งสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมทั้งทางรางและทางน้ำ เพื่อรองรับการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกกรุงเทพมหานคร เพื่อยกระดับการขนส่งสินค้าทางรางและทางน้ำให้สะควก รวดเร็ว ประหยัด น่าเชื่อถือ และสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาประเทศให้เติบโตโด้อย่างสมดุลและยังยืนต่อไป
วัตถุประสงค์โครงการ
ขอบเขตงาน
